logo
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)

The Office of Industrial Economics

 
Skip to content
 
logo
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)

The Office of Industrial Economics

  • A- A A+
  • Aa Aa Aa

  • หน้าแรก
  • รู้จัก สศอ.
    • วิสัยทัศน์
    • ประวัติ สศอ.
    • ผู้บริหาร
    • โครงสร้าง สศอ.
    • กฎระเบียบ ประกาศ
    • ยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ
      • แผนปฏิบัติการ
      • รายงานทางการเงิน
        • งบการเงิน
        • ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต สศอ.
    • นโยบายและแผน
    • แผนแม่บทอุตสาหกรรม
  • ข้อมูลเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
    • ดัชนีอุตสาหกรรม (MPI)
    • สถิติอุตสาหกรรม
    • ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรายเดือน
    • ภาวะอุตสาหกรรมรายไตรมาสและรายปี
    • ผลิตภาพอุตสาหกรรม TFP
    • สรุปภาวะการผลิต
    • สรุปภาวะการส่งออก
    • ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมของไทย (PMI)
  • ข่าว/ประกาศ สศอ.
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ประกาศ สศอ.
    • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
      • แนวทางการจัดซื้อจัดจ้าง
      • แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
      • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
      • ขอบเขตงาน (TOR) และราคากลาง
      • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
      • สรุปผลดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
    • ข่าว สศอ.
    • การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
    • องค์กรคุณธรรม
      • องค์กรคุณธรรม กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกอจอุตสาหกรรม
  • แผนการดำเนินงาน
    • ความโปร่งใสและตรวจสอบได้
    • จรรยาข้าราชการ
    • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
    • ความเสมอภาคหญิง-ชาย สศอ.
    • คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
    • คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
    • การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
  • เอกสารเผยแพร่
    • รายงานการศึกษา
    • วารสาร สศอ.
    • รายงานประจำปี
    • บทความ
    • เอกสารอื่น ๆ
    • สื่อแนะนำองค์กร
  • บริการ สศอ.
    • ร.ง.8 และ ร.ง.9
      • กำหนดแบบแจ้งข้อมูลการประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ. 2562
    • iSingleForm
    • Eco sticker รถยนต์
    • Eco sticker ยางรถยนต์
    • Eco sticker รถจักรยานยนต์
    • ห้องสมุด
  • ผลการดำเนินงาน
  • การป้องกันและร้องเรียนการทุจริต
    • ร้องเรียนการทุจริต
    • การป้องกันและปราบปรามการทุจริต
  • ติดต่อ
    • ติดต่อ สศอ.
    • แผนที่
    • ช่องทางการสอบถามข้อมูล (Q&A)
  • กฎหมายและข้อบังคับเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • Q&A คำถามที่พบบ่อย
  • intranet
  • ITA สศอ.
 
  • TH
  • EN


  • A-

    A

    A+


  • Aa

    Aa

    Aa
โครงสร้าง สศอ.
หน้าแรก >> รู้จัก สศอ. >> โครงสร้าง สศอ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (กพบ.)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
- เสนอแนะให้คำปรึกษาแก่ผู้อำนวยการเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการภายในสำนักงาน
- ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการภายในสำนักงาน
- ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการร่วมกับหน่วยงานกลางต่าง ๆ และหน่วยงานภายในสำนักงาน
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
กลุ่มตรวจสอบภายใน (ตสน.)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
- ดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชีของสำนักงาน
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย
สำนักงานเลขานุการกรม (สล.)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
- ดำเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานที่ และยานพาหนะของสำนักงาน
- ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาทรพัยากรบุคคล การเสริมสร้างวินัยและรักษาระบบคุณธรรมของสำนักงาน
- ดำเนินการเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูล กิจกรรม ความรู้ ความก้าวหน้าและผลงานของสำนักงาน
- ดำเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง งานนิติกรรมและสัญญา งานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่งและอาญา งานคดีปกครองและงานคดีอื่นใด และการรับผังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องและวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย รวมทั้งประเมิน ผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายบรรดาที่อยู่ในหน้าที่และอำนาจของสำนักงาน
- ดำเนินการอื่นใดที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าที่และอำนาจของส่วนราชการใดของสำนักงาน
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
กองนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค (กม.)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
- ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ และแผนการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนการกำกับผลักดันและพัฒนาปัจจัยสนับสนุน ที่จำเป็นต่อการขับเคลื่อน
- เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทาง และมาตรการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ รวมทั้งจัดทำแผนพัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศในระดับมหภาค ภูมิภาค และพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ
- เสนอแนะแนวทางการพัฒนาปัจจัยสนับสนุนที่จำเป็นต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ
- ติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการพัมนาอุตสาหกรรมศักยภาพ แผนการพัฒนาอุตสาหกรรม ของประเทศ แผนการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพด้านอุตสาหกรรม ตลอดจนแผนพัฒนาภูมิภาค และพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ
- ส่งเสริมและสนับสนุนทางวิชาการในการจัดทำยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนาอุตสาหกรรมในระดับภูมิภาคและจังหวัด ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ประสานการดำเนินงานเพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาด้านอุตสาหกรรม
- จัดทำแผนงานงบประมาณบูรณาการ ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบประมาณ แผนปฏิบัติการของสำนักงาน ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง
- ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งชาติ
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 (กร.1)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
- เสนอแนะนโยบาย แนวทาง และมาตรการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขารวมทั้งจัดทำแผนพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา
- ศึกษา วิเคราะห์ และติดตามสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจอุตสาหกรรม รวมทั้งคาดการณ์แนวโน้มและเตือนภัยอุตสาหกรรมรายสาขา
- ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา
- ประสานการดำเนินงานเพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาภาคอุตสาหกรรมรายสาขา
- ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 2 (กร.2)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
- เสนอแนะนโยบาย แนวทาง และมาตรการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขารวมทั้งจัดทำแผนพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา
- ศึกษา วิเคราะห์ และติดตามสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจอุตสาหกรรม รวมทั้งคาดการณ์แนวโน้มและเตือนภัยอุตสาหกรรมรายสาขา
- ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา
- ประสานการดำเนินงานเพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาภาคอุตสาหกรรมรายสาขา
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (กว.)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
- ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและเป็นหน่วยสารสนเทศเชิงลึกของกระทรวง รวมถึงการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
- ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยประเด็นทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศและติดตามสถานการณ์ รวมทั้งคาดการณ์แนวโน้มและเตือนภัยภาคอุตสาหกรรม
- พัฒนาเครื่องมือและแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสนับสนุนการศึกษา วิเคราะห์และวิจัยทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
กองเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ (กท.)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้

- เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทาง มาตรการ และกำหนดท่าทีความร่วมมือด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี
- ดำเนินการเกี่ยวกับความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมกับต่างประเทศ รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศ
- ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ
- ดำเนินการตามพันธกรณี อนุสัญญา พิธีสาร ข้อตกลง มาตรการทางกฎหมายระหว่างประเทศและร่วมพิจารณากำหนดข้อตกลงระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศและที่เกี่ยวข้อง
- เป็นศูนย์ให้บริการข้อมูลด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและความร่วมมือระหว่างประเทศของกระทรวง
- ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (กส.)
มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้
- กำหนดนโยบาย และระเบียบในการสำรวจ การเก็บรักษาและการใช้ประโยชน์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
- ดำเนินการเกี่ยวกับการเป็นศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
- รวบรวม จัดทำ และพัฒนาดัชนีเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในภาพร่วมและรายสาขาอุตสาหกรรม
- สร้างเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภาครัฐและเอกชนทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
- พัฒนา บริหารจัดการ และเชื่อมโยงระบบสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อรองรับรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
- ปฎิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

แผนผังเว็บไซต์
รู้จัก สศอ.
  • วิสัยทัศน์
  • ผู้บริหาร
  • โครงสร้าง สศอ.
  • ยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ
  • นโยบายและแผน
ข้อมูลเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
  • ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรายเดือน
  • ภาวะอุตสาหกรรมรายไตรมาสและรายปี
  • ผลิตภาพอุตสาหกรรม TFP
  • สรุปภาวะการผลิต
  • ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมของไทย (PMI)
เอกสารเผยแพร่
  • รายงานการศึกษา
  • วารสาร สศอ.
  • บทความ

 
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ที่อยู่ : 75/6 ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ : 0 2430 6800

โทรสาร : 0 2644 7136

ผู้ดูแลเว็บ : 0 2430 6808 ต่อ 680817 หรือ 680820

E-mail ส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ : saraban@oie.go.th

E-mail : webmaster@oie.go.th

icon_W2_aa ipv6 ready Website Policy | Privacy Policy | Security Policy | แผนผังเว็บไซต์

เบราเซอร์ที่แนะนำ

chrome firefox
 

จำนวนผู้เข้าชม 9163292